฿290.00
  • ประเภท : อีบุ๊ก
  • สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Author : ศ.ชวลิต ชาลีรักษ์ตระกูล
  • ISBN :9786163141125
  • ภาษา : ไทย
  • จำนวนหน้า : 291
  • ขนาดไฟล์ : 26.59 MB
การวิเคราะห์ความถี่ของอุทกภัย มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อนำเสนอการวิเคราะห์ความถี่แบบลุ่มแม่น้ำรวม ซึ่งใช้ข้อมูลของสถานีข้างเคียงจำนวนหลายสถานีมาช่วยในการวิเคราะห์ให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้น เนื้อหาของหนังสือเล่มนี้แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นการอธิบายถึงฟังก์ชันแจกแจงความน่าจะเป็นตระกูลนอร์มอล (Normal), เจนนอรัลไลซ์ เอ็กซ์ทรีม แวร์ลู (Generalized Extreme Value, GEV) และเพียร์สัน ประเภท 3 (Pearson type 3) พร้อมทั้งนำเสนอการประมาณการพารามิเตอร์ด้วยวิธีโมเมนต์ โมเมนต์เชิงเส้น และความน่าจะเป็นสูงสุด ซึ่งนิยมใช้ในการจำลองความถี่ของข้อมูลอุทกภัย ส่วนหลังเป็นการกล่าวถึงวิธีการคัดเลือกฟังก์ชั่นแจกแจงความน่าจะเป็นของอุทกภัยกรณีสถานีเดียว (พล็อตความน่าจะเป็น และการทดสอบความพอดีทางสถิติด้วยเกณฑ์ต่างๆ) และจัดเตรียมกระดาษ GEV เพื่ออำนวยความสะดวกแก่วิศวกรในการสร้างพล็อตความน่าจะเป็น GEV สำหรับงานคัดเลือกฟังก์ชั่น นอกจากนี้ยังได้อธิบายการใช้แผนผังโมเมนต์เชิงเส้นสำหรับคัดเลือกฟังกชั่นแจกแจงความน่าจะเป็นจริงแบบลุ่มน้ำรวม เพื่อนำไปใช้ในการประมาณการอุทกภัยที่รอบปีการเกิดซ้ำ (return period) ไม่สูงมากนักในประเทศไทยอีกทั้งยังได้นำเสนอวิธีการน้ำหลากดัชนี (index flood) และโมเมนต์เชิงเส้น เพื่อหาฟังก์ชั่นแจกแจงความน่าจะเป็นแบบลุ่มน้ำรวมที่มีประสิทธิภาพสำหรับประมาณการหาอุทกภัยที่รอบปีการเกิดซ้ำสูงๆ ในประเทศไทยด้วย สารบัญ บทที่ 1 พื้นฐานของความน่าจะเป็น บทที่ 2 ค่าทางสถิติสำหรับอธิบายการกระจายของตัวแปรสุ่ม บทที่ 3 ทฤษฎีแจกแจงความน่าจะเป็นตระกูลนอร์มอล บทที่ 4 ทฤษฎีแจกแจงความน่าจะเป็นตระกูล Generallzed Extreme Value บทที่ 5 ทฤษฎีแจกแจงความน่าจะเป็นตระกูลเพียร์สัน บทที่ 6 ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานและช่วงความมั่นใจของควอนไทล์ บทที่ 7 ตำแหน่งการพล็อตและพล็อตความน่าจะเป็น บทที่ 8 การทดสอบความพอดีทางสถิติ บทที่ 9 แผนภาพโมเมนต์เชิงเส้นและการวิเคราะห์ความถี่แบบสุ่มน้ำรวม
การวิเคราะห์ความถี่ของอุทกภัย มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อนำเสนอการวิเคราะห์ความถี่แบบลุ่มแม่น้ำรวม ซึ่งใช้ข้อมูลของสถานีข้างเคียงจำนวนหลายสถานีมาช่วยในการวิเคราะห์ให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้น เนื้อหาของหนังสือเล่มนี้แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นการอธิบายถึงฟังก์ชันแจกแจงความน่าจะเป็นตระกูลนอร์มอล (Normal), เจนนอรัลไลซ์ เอ็กซ์ทรีม แวร์ลู (Generalized Extreme Value, GEV) และเพียร์สัน ประเภท 3 (Pearson type 3) พร้อมทั้งนำเสนอการประมาณการพารามิเตอร์ด้วยวิธีโมเมนต์ โมเมนต์เชิงเส้น และความน่าจะเป็นสูงสุด ซึ่งนิยมใช้ในการจำลองความถี่ของข้อมูลอุทกภัย ส่วนหลังเป็นการกล่าวถึงวิธีการคัดเลือกฟังก์ชั่นแจกแจงความน่าจะเป็นของอุทกภัยกรณีสถานีเดียว (พล็อตความน่าจะเป็น และการทดสอบความพอดีทางสถิติด้วยเกณฑ์ต่างๆ) และจัดเตรียมกระดาษ GEV เพื่ออำนวยความสะดวกแก่วิศวกรในการสร้างพล็อตความน่าจะเป็น GEV สำหรับงานคัดเลือกฟังก์ชั่น นอกจากนี้ยังได้อธิบายการใช้แผนผังโมเมนต์เชิงเส้นสำหรับคัดเลือกฟังกชั่นแจกแจงความน่าจะเป็นจริงแบบลุ่มน้ำรวม เพื่อนำไปใช้ในการประมาณการอุทกภัยที่รอบปีการเกิดซ้ำ (return period) ไม่สูงมากนักในประเทศไทยอีกทั้งยังได้นำเสนอวิธีการน้ำหลากดัชนี (index flood) และโมเมนต์เชิงเส้น เพื่อหาฟังก์ชั่นแจกแจงความน่าจะเป็นแบบลุ่มน้ำรวมที่มีประสิทธิภาพสำหรับประมาณการหาอุทกภัยที่รอบปีการเกิดซ้ำสูงๆ ในประเทศไทยด้วย

สารบัญ
บทที่ 1 พื้นฐานของความน่าจะเป็น
บทที่ 2 ค่าทางสถิติสำหรับอธิบายการกระจายของตัวแปรสุ่ม
บทที่ 3 ทฤษฎีแจกแจงความน่าจะเป็นตระกูลนอร์มอล
บทที่ 4 ทฤษฎีแจกแจงความน่าจะเป็นตระกูล Generallzed Extreme Value
บทที่ 5 ทฤษฎีแจกแจงความน่าจะเป็นตระกูลเพียร์สัน
บทที่ 6 ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานและช่วงความมั่นใจของควอนไทล์
บทที่ 7 ตำแหน่งการพล็อตและพล็อตความน่าจะเป็น
บทที่ 8 การทดสอบความพอดีทางสถิติ
บทที่ 9 แผนภาพโมเมนต์เชิงเส้นและการวิเคราะห์ความถี่แบบสุ่มน้ำรวม