แนวคิดและเทคนิค การแปลภาษาญี่ปุ่น - ไทย
แนวคิดและเทคนิค การแปลภาษาญี่ปุ่น - ไทย
฿140.00
฿140.00
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Author : สมเกียรติ เชวงกิจวณิช
- ISBN :9786163143815
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 196
- ขนาดไฟล์ : 3.14 MB
ประเทศไทยและญี่ปุ่นมีความสัมพันธ์กันมายาวนาน กล่าวได้ว่าปัจจุบันญี่ปุ่นเป็นประเทศคู่ค้ารายใหญ่และมีสัดส่วนการลงทุนในประเทศไทยสูงมาก แม้จะยังไม่มีการสำรวจตลาดการแปลจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยในแต่ละสาขาว่ามีมากน้อยเพียงใด แต่คาดได้ว่าน่าจะมีความต้องการเป็นอย่างสูงทั้งในแวดวงธุรกิจและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมอื่นๆ และมีการสำรวจพบว่า บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาด้านภาษาญี่ปุ่นส่วนใหญ่มักทำงานด้านการแปลในบริษัทญี่ปุ่น หรือบริษัทที่ทำธุรกิจกับชาวญี่ปุ่น (สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข, 2546 และนรีนุช ดำรงชัย, 2555) โดยกรณีของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แม้จากการสำรวจของสุณีย์รัตน์ (2546) จะพบว่าทักษะด้านการแปลของบัณฑิตที่จบการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ดี แต่ก็ยังไม่ถึงระดับที่ผู้จ้างงานคาดหวัง รวมทั้งจากประสบการณ์ของผู้เขียนเองในฐานะผู้ทำงานเกี่ยวข้องกับการแปลและผู้สอนวิชาการแปลภาษาญี่ปุ่นก็เห็นว่าการแปลภาษาญี่ปุ่น-ไทยยังมีปัญหาการแปลผิดหรือไม่เหมาะสมอยู่มาก แต่กลับมีหนังสือ ตำราหรืองานวิจัยเกี่ยวกับการแปลภาษาญี่ปุ่น-ไทยน้อยมาก ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Yamamoto
(2010) ที่สำรวจงานวิจัยด้านการแปลในบริบทของไทย (Translation Studies in Thai context)ในช่วงปี ค.ศ. 1982-2009 โดยใช้ฐานข้อมูลจากหอสมุดแห่งชาติ และศูนย์ข้อมูลการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และพบงานวิจัยด้านการแปลจำนวนทั้งสิ้น 201 เรื่อง แต่พบงานวิจัยด้านการแปลภาษาญี่ปุ่น-ไทยน้อยมากคือเพียงร้อยละ 2 เท่านั้น
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 แนวคิดและเทคนิคการแปลที่ควรรู้
บทที่ 3 การทำความเข้าใจต้นฉบับ
บทที่ 4 การถ่ายทอดบทแปล
บทที่ 5 สรุป
ฯลฯ
ประเทศไทยและญี่ปุ่นมีความสัมพันธ์กันมายาวนาน กล่าวได้ว่าปัจจุบันญี่ปุ่นเป็นประเทศคู่ค้ารายใหญ่และมีสัดส่วนการลงทุนในประเทศไทยสูงมาก แม้จะยังไม่มีการสำรวจตลาดการแปลจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยในแต่ละสาขาว่ามีมากน้อยเพียงใด แต่คาดได้ว่าน่าจะมีความต้องการเป็นอย่างสูงทั้งในแวดวงธุรกิจและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมอื่นๆ และมีการสำรวจพบว่า บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาด้านภาษาญี่ปุ่นส่วนใหญ่มักทำงานด้านการแปลในบริษัทญี่ปุ่น หรือบริษัทที่ทำธุรกิจกับชาวญี่ปุ่น (สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข, 2546 และนรีนุช ดำรงชัย, 2555) โดยกรณีของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แม้จากการสำรวจของสุณีย์รัตน์ (2546) จะพบว่าทักษะด้านการแปลของบัณฑิตที่จบการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ดี แต่ก็ยังไม่ถึงระดับที่ผู้จ้างงานคาดหวัง รวมทั้งจากประสบการณ์ของผู้เขียนเองในฐานะผู้ทำงานเกี่ยวข้องกับการแปลและผู้สอนวิชาการแปลภาษาญี่ปุ่นก็เห็นว่าการแปลภาษาญี่ปุ่น-ไทยยังมีปัญหาการแปลผิดหรือไม่เหมาะสมอยู่มาก แต่กลับมีหนังสือ ตำราหรืองานวิจัยเกี่ยวกับการแปลภาษาญี่ปุ่น-ไทยน้อยมาก ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Yamamoto
(2010) ที่สำรวจงานวิจัยด้านการแปลในบริบทของไทย (Translation Studies in Thai context)ในช่วงปี ค.ศ. 1982-2009 โดยใช้ฐานข้อมูลจากหอสมุดแห่งชาติ และศูนย์ข้อมูลการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และพบงานวิจัยด้านการแปลจำนวนทั้งสิ้น 201 เรื่อง แต่พบงานวิจัยด้านการแปลภาษาญี่ปุ่น-ไทยน้อยมากคือเพียงร้อยละ 2 เท่านั้น
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 แนวคิดและเทคนิคการแปลที่ควรรู้
บทที่ 3 การทำความเข้าใจต้นฉบับ
บทที่ 4 การถ่ายทอดบทแปล
บทที่ 5 สรุป
ฯลฯ
(2010) ที่สำรวจงานวิจัยด้านการแปลในบริบทของไทย (Translation Studies in Thai context)ในช่วงปี ค.ศ. 1982-2009 โดยใช้ฐานข้อมูลจากหอสมุดแห่งชาติ และศูนย์ข้อมูลการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และพบงานวิจัยด้านการแปลจำนวนทั้งสิ้น 201 เรื่อง แต่พบงานวิจัยด้านการแปลภาษาญี่ปุ่น-ไทยน้อยมากคือเพียงร้อยละ 2 เท่านั้น
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 แนวคิดและเทคนิคการแปลที่ควรรู้
บทที่ 3 การทำความเข้าใจต้นฉบับ
บทที่ 4 การถ่ายทอดบทแปล
บทที่ 5 สรุป
ฯลฯ