฿249.00
  • ประเภท : อีบุ๊ก
  • สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Author : นิตยา แก้วคัลณา
  • ISBN :9786163144157
  • ภาษา : ไทย
  • จำนวนหน้า : 260
  • ขนาดไฟล์ : 8.74 MB
ตําราเล่มนี้เขียนขึ้นเพื่อแสดงความสําคัญของแนวคิดเรื่องการสืบสรรค์ กับการศึกษากวีนิพนธ์ไทย อันเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการศึกษาวิจัยกวีนิพนธ์ของไทยทั้งในแง่ของรูปแบบ เนื้อหา และกลวิธีทางวรรณศิลป์ การทําความเข้าใจแนวคิดนี้จะยังประโยชน์ต่อการศึกษาและการเขียนประวัติกวีนิพนธ์ไทยที่เชื่อมโยงเป็นสายธารต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจวบจนกระทั่งปัจจุบัน และแนวคิดนี้จะยังสร้างประโยชน์ให้แก่ผู้สร้างงาน ซึ่งสามารถปรับปรนและปรับใช้ในมิติที่ลึกซึ้งและซับซ้อนได้อย่างต่อเนื่องและหลากหลาย แนวคิดเรื่องการสืบสรรค์ในกวีนิพนธ์ไทยมีบทบาทต่อการศึกษาและทําความเข้าใจการสร้างงานของกวีในแต่ละยุคสมัยในวัฒนธรรมทางวรรณศิลป์ของไทย และแนวคิดนี้ยังเชื่อมโยงให้เห็นความสัมพันธ์โยงใยระหว่างวรรณคดีโบราณกับกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย ซึ่งไม่สามารถแยกขาดออกจากกันได้ และในขณะเดียวกันยังให้เห็นความสัมพันธ์ของการสร้างงานของกวีในบริบทของวัฒนธรรมวรรณศิลป์ร่วมสมัยด้วย
ตําราเล่มนี้เขียนขึ้นเพื่อแสดงความสําคัญของแนวคิดเรื่องการสืบสรรค์ กับการศึกษากวีนิพนธ์ไทย อันเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการศึกษาวิจัยกวีนิพนธ์ของไทยทั้งในแง่ของรูปแบบ เนื้อหา และกลวิธีทางวรรณศิลป์ การทําความเข้าใจแนวคิดนี้จะยังประโยชน์ต่อการศึกษาและการเขียนประวัติกวีนิพนธ์ไทยที่เชื่อมโยงเป็นสายธารต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจวบจนกระทั่งปัจจุบัน และแนวคิดนี้จะยังสร้างประโยชน์ให้แก่ผู้สร้างงาน ซึ่งสามารถปรับปรนและปรับใช้ในมิติที่ลึกซึ้งและซับซ้อนได้อย่างต่อเนื่องและหลากหลาย แนวคิดเรื่องการสืบสรรค์ในกวีนิพนธ์ไทยมีบทบาทต่อการศึกษาและทําความเข้าใจการสร้างงานของกวีในแต่ละยุคสมัยในวัฒนธรรมทางวรรณศิลป์ของไทย และแนวคิดนี้ยังเชื่อมโยงให้เห็นความสัมพันธ์โยงใยระหว่างวรรณคดีโบราณกับกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย ซึ่งไม่สามารถแยกขาดออกจากกันได้ และในขณะเดียวกันยังให้เห็นความสัมพันธ์ของการสร้างงานของกวีในบริบทของวัฒนธรรมวรรณศิลป์ร่วมสมัยด้วย