฿310.00
  • ประเภท : อีบุ๊ก
  • สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Author : เอกอุมา อิ้มคำ
  • ISBN :9786166020861
  • ภาษา : ไทย
  • จำนวนหน้า : 258
  • ขนาดไฟล์ : 5.34 MB
เมื่อถามนักศึกษาพยาบาลว่าวิชาอะไรเป็นวิชาที่ทำทายที่สุต คำตอบส่วนใหญ่มักจะเป็นวิชาที่เกี่ยวกับการบำบัดด้วยยา กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา และพยาธิวิทยา หากชาดความรู้ที่เพียงพออาจส่งผลให้เกิดอันตรายโตยตรงต่อผู้รับบริการในทันทีหรือในระยะยาว ตังนั้นการเติมพันในการเรียนรู้วิชาเหล่านี้จึงสูงมาก ตำรา ประสาทชีววิทยาและจิตเภสัชบำบัต (Neurobiology and psychopharmacotherapy)เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นตำราประกอบการเรียนสำหรับนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตและนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับประสาทชีววิทยาและสารสื่อประสาทในสมองในภาวะที่มีพยาธิสภาพทางจิต แนวคิดเกี๋ยวกับเกสัชฯนุศาสตร์และเกสัชพลศาสตร์ ยาที่ใช้ในการบำบัตโรคทางจิตเวชกลไกการออกฤทธิ์ ผลข้งเคียงของยา ข้อระวังในการให้ยาแต่จะประเกท บทบาทพยาบาลในการบริทารยาทางจิตเวช การบูรณาการความรู้ทางประสาทชีววิทยา จิดเภสัชบำบัตและผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องสู่การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต ตำราเล่มนี้จะช่วยให้นักศึกษาเห็นภาพในการพยาบาลผู้รับบริการที่ได้รับการบำบัตด้วยยาได้ชัตเจนยิ่งขึ้นสามารถนำความรู้ไปใช้ในวงกว้าง แม้ว่าจะมีส่วนที่ยาก ชับซ้อนและท้าทาย แต่เป็นส่วนที่น่สนใจอย่างยิ่ง อีกทั้งเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและตลอดชีวิตเนื่องจากมีการพัฒนายาที่ใช้รักษาโรคอย่างต่อเนื่อง พยาบาดจึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับเกสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์และหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อนำความรู้มาออกแบบการพยาบาลเพื่อส่งเสริมการฟื้นหายและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้รับบริการ ครอบครัวและชุมชนต่อไป
บทที่ 1 ความสำคัญของจิตเภสัชบำบัดกับการพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิตและผู้ใช้สารเสพติดที่มีความซับซ้อน
บทที่ 2 สมองและพฤติกรรม : พุทธิปัญญาและการติดสารเสพติด
บทที่ 3 ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยาสำหรับการใช้ยาจิตเวช
บทที่ 4 กระบวนการพยาบาลทางเภสัชวิทยา
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ที่ได้รับการบำาบัดด้วยยากลุ่มต่างๆ และจุดเน้นที่สำคัญเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากการได้รับการบำบัดด้วยยา
บทที่ 6 กรณีศึกษา
ฯลฯ