กฎหมายสัญญาจ้างแรงงาน
กฎหมายสัญญาจ้างแรงงาน
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : DHARMNITI
- Author : พงษ์รัตน์ เครือกลิ่น
- ISBN :976-616-302-105-2
- ภาษา : thai
- จำนวนหน้า : 220
- ขนาดไฟล์ : 10.81 MB
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้บริบทกฎหมายแรงงานและคำพิพากษาศาลฎีกา” เขียนขึ้นโดยวัตถุประสงค์เพื่อให้ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์มีองค์ความรู้ ความเข้าใจในด้านกฎหมายแรงงาน และแนวคำพิพากษาศาลฎีกาสามารถนำองค์ความรู้นี้ไปใช้ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน การเรียบเรียงจะเน้นที่กฎหมายแรงงานและคำพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวข้อง โดยอธิบายเชิงวิเคราะห์เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนำความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติได้จริง ซึ่งหนังสือทั้งหมดจะแบ่งย่อยออกเป็น 4 เล่ม เล่มที่ 1 : กฎหมายจ้างแรงงาน เล่มที่ 2 : กฎหมายคุ้มครองแรงงาน เล่มที่ 3 : กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ และเล่มที่ 4 : ศาลแรงงานและการดำเนินคดีในศาลแรงงาน
สำหรับเล่มที่อยู่ในมือท่านผู้อ่านนี้ เป็นหนังสือ “การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้บริบทกฎหมายแรงงานและคำพิพากษาศาลฎีกา” เล่มที่ 1 : กฎหมายสัญญาจ้างแรงงาน เนื้อหามุ่งเน้นที่กฎหมายเกี่ยวกับสัญญาจ้างแรงงานเป็นสำคัญผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อในหนังสือเล่มนี้ จะสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องด้านกฎหมายแรงงาน อันจะเป็นผลดีทั้งต่อนายจ้างและลูกจ้าง รวมทั้งสังคมอุตสาหกรรมโดยส่วนร่วม
สารบัญ
1.การบริหารทัพยากรมนุษย์ภายใต้บริบทกฎหมายแรงงานและคำพิพากษาศาลฎีกา
1.กฎหมายแรงงานฉบับสำคัญเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
2.คำพิพากษาสาลฎีกาคดีแรงงานกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
2.สัญญาจ้างแรงงาน
1.บุคคลที่ทำงานและได้รับค่าตอบแทน
2.สัญญาจ้างแรงงานลักษณะสำคัญของสัญญาแจ้งแรงงาน
3.ตัวอย่างคดีที่เป็นสัญญาจ้างแรงงาน
4.ตัวอย่างคดีที่ไม่เป็นสัญญาจ้างแรงงาน
3.สัญญาจ้างทำของ
1.สัญญาจ้างทำของและลักษณะสำคัญของสัญญาจ้างทำของ
2.เปรียบเทียบสัญญาจ้างแรงงานกับสัญญาจ้างทำของ
4.รูปแบบสัญญาจ้างแรงงาน
1.รูปแบบการทำนิติกรรม
2.รูปแบบสัญญาจ้างแรงงาน
5.ประเภทสัญญาจ้างแรงงาน
1.สัญญาจ้างที่ไม่มีกำหนดเวลาแน่นอน
2.สัญญาจ้างที่มีกำหนดเวลาแน่นอน
3.สัญญาจ้างพิเศษหรือจ้างเฉพาะ
6.ข้อตกลงในสัญญาจ้างแรงงาน
1.ข้อตกลงในสัญญาจ้างที่ไม่มีผลใช้บังคับ
2.ข้อตกลงในสัญญาจ้างที่มีผลใช้บังคับ
3.การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อตกลงในสัญญาจ้าง
7.สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้าง
1.สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้าง
2.สิทธิและหน้าที่ของนายจ้าง
8.การสิ้นสุดสัญญาจ้างแรงงาน
1.ลาออก
2.ตกลงเลิกสัญญาจ้าง
3.เลิกจ้าง
9.สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
1.แนวความคิดเรื่องการบอกกล่าวล่วงหน้าก่อนเลิกสัญญาจ้าง
2.กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
3.หลักเกณฑ์การบอกกล่าวล่วงหน้าก่อนเลิกจ้าง
4.การคำนวณสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
5.ข้อยกเว้นไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า
6.ดอกเบี้ยและอายุความ
10.ใบสำคัญแสดงการทำงาน
1.หลักเกณฑ์การออกใบสำคัญแสดงการทำงาน
2.ประเภทของใบสำคัญแสดงการทำงาน
3.ใบสำคัญแสดงการทำงานตามกฎหมายไทย
4.ผลการไม่ออกใบสำคัญแสดงการทำงาน
นำเข้าโดยระบบ Bookcaze จำนวน 1 สิทธิ์